โครงการวิจัย
โครงการวิจัย
โครงการแก้ปัญหาการระบาดของโรคลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน (กาโนเดอร์มา) ด้วยชีวภัณฑ์ B-Palm
บทความเรื่อง โรคลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน และการควบคุมด้วยชีวภัณฑ์ B-Palm
- ลักษณะดอกเห็ด เชื้อสาเหตุ
- ลักษณะความรุนแรงที่แสดงอาการทางใบ และการเกิดดอกเห็ดที่โคนหรือรากต้น
- ประโยชน์ชีวภัณฑ์ B-Palm และประสิทธิภาพในการควบคุมกาโนเดอร์มา
- การใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm กับต้นปาล์มน้ำมันที่ถูกกาโนเดอร์มาทำลาย
- ความคิดเห็นเกษตรกรที่ใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm
บทความเรื่อง การควบคุมและป้องกัน โรคลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน
ชีวภัณฑ์ B-Palm ควบคุม และป้องกันโรคลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน
- ควบคุม และป้องกันเชื้อกาโนเดอร์มา
- ลดการแพร่ระบาดของเชื้อกาโนเดอร์มา
- กระตุ้นให้เกิดรากใหม่ของปาล์มน้ำมัน
ปฏิทินการจัดการ โรคลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน
ข่าวกิจกรรม การลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm
สถาบันฯ ลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ สุราษฎร์ธานี และชุมพร • 13-15 กันยายน 2566 (อ่านต่อ)
สถาบันฯ ลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm ในพื้นที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา • 20 มิถุนายน 2566 (อ่านต่อ)
สถาบันฯ ลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm ในพื้นที่จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และตรัง • 7-9 พฤษภาคม 2566 (อ่านต่อ)
สถาบันฯ ลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm ในพื้นที่จังหวัดสตูล ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี • 2-3 กุมภาพันธ์ 2565 (อ่านต่อ)
สถาบันฯ ลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการใช้ชีวภัณฑ์ B-Palm ณ สวนปาล์มน้ำมันของบริษัท ปาล์มไทยพัฒนา จำกัด • 15 ตุลาคม 2564 (อ่านต่อ)